ในชีวิตเรามีร า ยจ่ายมากมาย แต่ก็ใช่ว่าทุกอ ย่ างจะเป็นร า ยจ่ายที่จำเป็น เ พ ร า ะบางเรื่องมันก็ไม่ได้จำเป็นเสมอไปที่เราจะต้องจ่าย ถ้าหากเราล ดของที่ไม่จำเป็นได้ก็จะทำให้มีเ งิ นเหลือเก็บ ใช้มากขึ้น วันนี้เรามีบทความ 17 วิ ธีล ดร า ยจ่ายให้มีเ งิ นในกระเป๋ามากขึ้น มีอะไรบ้างไปดูกันเลย
1. ล ดร า ยจ่ายเรื่องเสื้อผ้า
เราควรเปลี่ยนสิ่งที่ไม่ใช้แล้ว ให้มาเป็นเ งิ นเข้ากระเป๋าจะดีกว่านะ รวมไปถึงเสื้อผ้าที่กำลังล้นตู้อยู่ด้วย หล า ยคน มีเสื้อผ้าเยอะมาก แต่ใส่ไปไม่ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของทั้งหมด แนะนำว่าให้ตัดใจแล้วนำไปข า ยต่อเอาเ งิ น มาเก็บเพิ่มจะดีกว่านะ
2. อ ย่ าซื้ อเสื้อผ้าร า ค าถูก
เลือ กเสื้อผ้าที่ใช้วัสดุคุณภาพดี เ พ ร า ะเมื่อคุณซื้ อเสื้อผ้าร า ค าถูกที่เนื้อผ้าไม่ดี หรือ การตัดเย็บไม่ดี จะทำให้เสื้อผ้าเหล่านั้นเสื่อมสภาพเร็ว หลังจากซักไปเพียงไม่กี่ครั้ง
3. อ ย่ าบ้าสะสม
แม้ว่าของสะสมเป็นของที่มีคุณค่าทางจิตใจก็จริง แต่อ ย่ างไรก็ต าม ใครที่เป็นนักสะสมก็มักจะเต็มไปด้วยร า ยจ่ายที่รั่วไหล ถ้าคุณไม่หยุดตัวเองเลย เมื่อมองย้อนกลับมาอีกที อาจพบว่ามีของสะสมอยู่เต็มบ้านไปหมด แต่เ งิ นในบัญชีกลับว่างเปล่า
4. อ ย่ าเพียงแค่ประหยัดเ งิ น
การออมเป็นสิ่งทีดี โดยควรตั้งเป้าหมายในการออมระยะสั้น เช่น ออมให้ได้ 300 บาท หรือมากกว่านั้นต่อสัปดาห์ จะทำให้เราไม่รู้สึกหนักเกินไป มีกำลังใจในการเก็บเ งิ น และควรวางแผนการเกษียณให้เร็วที่สุด อ ย่ าเพียงแค่ทำงานไปวันๆ
5. ซื้ อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีคุณภาพ
เป็นของชิ้นใหญ่ที่ควรลงทุนเพื่อความสะดวกสบาย และควรตระหนักถึงการประหยัดพลังงานด้วย เ พ ร า ะการประหยัดค่าไฟก็ช่วยคืนเ งิ นในกระเป๋าได้เช่นกัน
6. ยกเลิกการเป็นสมาชิกที่ไม่ได้ใช้
อ ย่ างเช่น ฟิตเนสที่สมัครไว้เ พ ร า ะอย ากหุ่นดี แต่ก็ไม่เคยมีเวลาว่างไปสักที อ ย่ าลืมว่าคุณสามารถต่ออายุการเป็นสมาชิกในภายหลังได้ ถ้าไม่ได้ไปจริงๆ ก็ยกเลิกไปก่อน
7. เปรียบเทียบก่อน และใช้กฎ 24 ชั่ วโมง
เวลาที่คุณอย ากซื้ อของร า ค าสูงๆ ให้กลับบ้านไปแล้วไตร่ตรองอีกสัก 24 ชั่ วโมงก่อน แล้วค่อยวกกลับมาซื้ อมันอีกครั้ง เ พ ร า ะถึงเวลานั้นบางทีเราก็อาจจะไม่อย ากได้แล้วก็ได้ หรือลองคำนวณร า ค าสิ่งของที่จะซื้ อ เปรียบเทียบกับจำนวนค่าตอบแทนร า ยวัน ที่ได้จากการทำงานของคุณ ลองทำแบบค่อยเป็นค่อยไป แล้วคุณจะพบว่าตัวเองนั้น มีเ งิ นเหลือเยอะขึ้นอ ย่ างแน่นอน
8. ใช้ระบบขนส่งสาธารณะบ้าง
การโดยสารด้วยรถสาธารณะ จะช่วยให้คุณประหยัดเ งิ นได้เป็นอ ย่ างมากเลยทีเดียว และยังช่วยประหยัดพลังงาน แทนการขับรถยนต์ส่วนตัวอีกด้วย หรือลองซื้ อบัตรประเภทร า ยเดือนของรถไฟฟ้า รถเมล์ ก็จะพบว่าค่าโดยสารยิ่งถูกลงไปอีก
9. สนุกกับความบันเทิงง่ายๆ
การไปเที่ยวต ามห้างสรรพสินค้า หรือเที่ยวข้างนอ กจะทำให้เรา ได้พบกับสิ่งล่อต าล่อใจมากมาย จนจ่ายเ งิ นไปในจำนวน มากกว่าที่ตั้งใจเอาไว้นั่นเอง ลองมีสักวันที่คุณสร้างความสุขและความบันเทิงง่ายๆ ที่บ้าน อ ย่ างฟังเพลง ดูทีวี อ่ า นหนังสือ เป็นอีกเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการล ดร า ยจ่ายเรื่องความบันเทิง
10. หยุดใช้บัตรเครดิตจ่ายล่วงหน้าถ้าไม่จำเป็น
เ พ ร า ะความสะดวกของบัตรเครดิต จะทำให้เราใช้เ งิ นเกินงบประมาณที่ตั้งไว้ จนทำให้เก็บเ งิ นได้ไม่ถึงเป้าหมาย เทคนิคง่ายๆ ก็คือ ให้เขียนข้อความเ ตื อ นตัวเองไว้บนกระดาษเล็กๆ แปะบนบัตรเครดิตเอาไว้เลย เป็นข้อความเ ตื อ นใจให้คิดก่อนซื้ อ
11. ลงทะเบียนรับสิทธิพิเศษ
ร้านค้าหล า ยร้าน มักมีสิทธิพิเศษให้เมื่อเราไปช้อปปิ้ง ก็ขออ ย่ าละเลยสิทธิพวกนี้ เ พ ร า ะบางทีคุณอาจได้รับเช็คของขวัญ บัตรกำนัล ดีๆ ที่ทำให้ประหยัดเ งิ นไปได้อีกเยอะเลย
12. จดบันทึกให้เป็นนิสัย
เราควรจดบันทึกร า ยรับร า ยจ่ายให้เป็นนิสัย เ พ ร า ะจะทำให้รู้ว่าเราหมดเ งิ นไปกับอะไร และช่วยให้เราสามารถตัดสิ่งที่ไม่จำเป็น ออ กไปได้ด้วย ซึ่งปัจจุบัน มีแอปพลิเคชันร า ยรับร า ยจ่ายมากมาย ที่สะดวกในการใช้งาน ให้คุณได้เลือ กใช้
13. อ ย่ ามีเฉพาะบัญชีออมท รั พ ย์
ลองฝากประจำ หรือลงทุนแบบหักอัตโนมัติ เพื่อสร้างวินัยการออม จะได้ไม่ต้องกังวลว่าเดือนนี้ได้ออมเ งิ น หรือฝากเ งิ นเข้าธนาคารแล้วหรือยัง ซึ่งวิ ธีนี้ง่ายต่อ การไปถึงเป้าหมายการออมที่วางไว้ด้วย
14. ตั้งต้นด้วยเ งิ นออม
หล า ยคนคิดว่าเ งิ นเก็บหรือเ งิ นออมนั้น คือเ งิ นที่เหลือจากการใช้จ่าย ร า ยได้ลบร า ยจ่ายเท่ากับเ งิ นออม ซึ่งวิ ธีการคิดแบบนี้ก็ถูกต้อง แต่ไม่ใช่แนวคิดตั้งต้นที่ดี สำหรับคนที่อย ากเก็บเ งิ นให้ได้อ ย่ างมีวินัย เราไม่ควรมองเ งิ นออมเป็นเ งิ นเหลือ แต่ควรมองเป็นเ งิ นที่ถูก “จัดหมวดหมู่” เอาไว้ว่า นี่คือเ งิ นออมโดยเฉพาะนะ
15. ค่าอาหารร า ยจ่ายประจำที่ล ดได้
ค่าอาหารเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่สุดก้อนหนึ่งในชีวิตประจำวันเลย วิ ธีที่จะช่วยล ดร า ยจ่ายได้ก็คือ การประหยัดค่าใช้จ่ายก้อนนี้ให้มากขึ้น สำหรับการล ดร า ยจ่ายค่าอาหาร สามารถทำได้โดยการทำอาหารทานเอง การทำอาหารไปทานเองจะช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าซื้ อทานข้างนอ ก
16. เลือ กบัญชีธนาคารที่ได้ดอ กเบี้ยดีๆ
เพื่อสร้างผลตอบแทนเพิ่มขึ้นจากการฝากเ งิ นทั่วไป ให้เลือ กฝากเ งิ นกับธนาคารที่ให้ดอ กเบี้ยสูงที่สุด
17. งบประมาณควรแบ่งประเภท และลำดับความสำคัญ
เมื่อเราเห็นงบประมาณร า ยจ่ายทั้งหมด หลังหักเ งิ นออมที่คาดหวังไว้แล้ว ทั้งนี้ทั้งนั้นเมื่อเราเริ่มลงมือจริง แต่หล า ยครั้งก็จ่ายไม่ได้จริงต ามที่ตั้งใจไว้ เ พ ร า ะมักจะจ่ายให้กับสิ่งที่ไม่สำคัญก่อน เช่น จ่ายให้กับค่าอาหารที่อย ากทานในแต่ละวันก่อน จนลืมคิดไปว่ามีส่วนที่สำคัญที่จะต ามมาในช่วงปล า ยเดือน เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าน้ำค่าไฟ เป็นต้น
ที่มา t h e w a y o f l i f e profession-j55